๑۩۞۩๑ ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่เว็บบล๊อกของผมครับ ๑۩۞۩๑

วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

คำนิยามความหมาย (กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย)

คำนิยามความหมาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1เอกลักษณ์   หมายถึง   ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน
2ยืม   หมายถึง   ขอสิ่งของแล้วคืนให้ภายหลัง
3. ประโยคความเดียว หมายถึง ประโยคที่มีใจความสำคัญเพียงใจความเดียว ประกอบด้วย
บทประธานบทเดียว และบทกริยาบทเดียว
4.ประโยคความซ้อน หมายถึง ประโยคความเดียวที่มีการเพิ่มประโยคเข้าไป ประกอบด้วย
ประโยคความเดียวเป็นประโยคหลัก และมีประโยคย่อยมาขยายคำในประโยคหลัก
5.ประโยคความรวม หมายถึง ประโยคความเดียว ตั้งแต่ 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกัน
ประกอบด้วยบทกริยาตั้งแต่ 2 บทขึ้นไป
6.เชื่อม      หมายถึง     ทำให้ติดกัน
7. สื่อสาร หมายถึง    ติดต่อกันด้วยหนังสือ
8.สัมฤทธิ์ หมายถึง ความสำเร็จ, โลหะเจือชนิดหนึ่ง
9. พิธีการ หมายถึง     ผู้ดำเนินการในพิธี
10. กลอน    หมายถึง     คำประพันธ์ที่บังคับเอกโท
11. ฉันทลักษณ์ หมายถึง    ตำราว่าด้วยคำประพันธ์
12. เสภา  หมายถึง    ชื่อกลอนชนิดหนึ่ง ใช้ขับลำนำ
13. วรรคสดับ  หมายถึง วรรคแรกของคำกลอน
14.  วรรครับ หมายถึง วรรคที่สองของบทกลอน
15. ประธาน  หมายถึง ตำแหน่งผู้เป็นใหญ่ในที่ประชุม
16. กริยา หมายถึง   คำที่แสดงอาการ
17.  กรรม  หมายถึง   การกระทำ
18.  บุพบท หมายถึง   คำชนิดหนึ่งทำหน้าที่เชื่อมคำ
19.  สันธาน หมายถึง ใช้เชื่อมประโยคให้เกี่ยวเนื่องกัน
20.  นาม   หมายถึง คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ
21.  คอลัมน์  หมายถึง   เรื่องประจำในหนังสือพิมพ์
22.  ราชาศัพท์ หมายถึง   คำที่ใช้กับพระเจ้าแผ่นดิน
23.  สรรพนาม หมายถึง คำที่ใช้แทนชื่อคน สัตว์   สิ่งของ
24.  สิ้นพระชนม์    หมายถึง    จบชีวิต
25.  ภัตตาหาร   หมายถึง   อาหารสำหรับพระฉัน
26.  ประเคน   หมายถึง   ถวายของพระสงฆ์
27.  กุฏิ    หมายถึง ที่อยู่สำหรับพระภิกษุสามเณร
28.  ฐานันดรศักดิ์   หมายถึง   ลำดับในการกำหนดชั้นบุคคล
29.  ประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน
30.  ทักษะ   หมายถึง    ความชำนาญ
31.  วิจารณญาณ หมายถึง   ปัญญาที่สามารถรู้หรือมีเหตุผล
32.  บริบท หมายถึง คำหรือความที่ทำให้เข้าใจ
33.  คำ   หมายถึง   เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้น
34.  วิเคราะห์   หมายถึง   ใคร่ครวญ
35.  สังเคราะห์   หมายถึง   การสร้างใหม่
36.  ความคิด   หมายถึง    สิ่งที่เกิดการคิด
37.  คำขวัญ    หมายถึง   ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจ
38.  วรรค    หมายถึง    ตอน,หมวด
39.  คล้องจอง   หมายถึง   สัมผัสกัน
40.   สุนทรีย   หมายถึง เกี่ยวกับความนิยมความงาม
41.  อรรถรส  หมายถึง   รสแห่งถ้อยคำ หรือข้อความ
42.  คำพังเพย  หมายถึง   คำที่สั้นกะทัดรัด
43.  สุภาษิต   หมายถึง ถ้อยคำที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานมีความหมายสอนใจ
44.  คำคม   หมายถึง ถ้อยคำที่มีหลักแหลมชวนให้คิด
45.  คติ   หมายถึง   แบบอย่าง,แนวทาง
46.  สื่อสาร หมายถึง นำถ้อยคำ ข้อความของฝ่ายหนึ่งส่งให้อีกฝ่ายหนึ่ง
47.  ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดเห็น
48.  ฟัง   หมายถึง    ตั้งใจสดับ
49.  ปัญญา   หมายถึง   ความรอบรู้,ความรู้ที่มี
50.  จินตนาการ   หมายถึง   สร้างภาพให้เห็นในจิตใจ
51.  จรรโลง  หมายถึง   พยุงไว้ไม่ให้เซไม่ให้ล้ม
52.  ดู   หมายถึง   ใช้สายตาเพื่อให้เห็น
53.  บรรลุ   หมายถึง   ถึงความสำเร็จ
54.  วิทยาการ  หมายถึง ความรู้แขนงต่าง ๆ
55.  นิทาน   หมายถึง เรื่องที่เล่ากันมาจากปากต่อปากเป็นเวลานานมาแล้ว
56.  นิยาย หมายถึง เรื่องที่เล่ากันมา
57.  ละคร   หมายถึง   การแสดงอย่างหนึ่ง ผู้เล่นเรียกว่าตัวละคร
58.  อภิปราย หมายถึง พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น
59.  ปาฐกถา  หมายถึง การกล่าวธรรมะหรือบทบาลี
60.  สุนทรพจน์ หมายถึง คำพูดที่ประธานหรือบุคคลสำคัญกล่าวในพิธีการ หรือโอกาสสำคัญ
ต่าง ๆ
61. ข่าว  หมายถึง คำบอกเล่าเรื่องราวโดยปกติมักเป็นเรื่องเกิดใหม่หรือเป็นเรื่องที่สนใจ
62. พูด หมายถึง เปล่งเสียงออกมาเป็นถ้อยคำ
63.  ศาสตร์   หมายถึง   ระบบวิชาความรู้
64.  ศิลป์ หมายถึง   ฝีมือทางการช่าง
65.  ทรรศนะ   หมายถึง ความเห็น หรือการเห็น
66.  พินิจ    หมายถึง พิจารณาตรวจตรา
67.  คุณค่า   หมายถึง   สิ่งที่มีประโยชน์
68.  วรรณกรรม  หมายถึง งานหนังสือ งานประพันธ์
69. ร้อยกรอง  หมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามฉันทลักษณ์
70. ร้อยแก้ว  หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียง
71. กวี หมายถึง ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญในการประพันธ์บทกลอน
72. สะท้อน  หมายถึง   ย้อนกลับ
73.  ค่านิยม หมายถึง   สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเพื่อช่วยตัดสินใจ
74.  โลกทัศน์   หมายถึง การมองโลก
75. สารคดี  หมายถึง เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความคิด
76.  ภูมิปัญญา   หมายถึง   ปัญญาของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ
77.  จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
78.  โขน หมายถึง การเล่นอย่างหนึ่งคล้ายละคร
79.  รามเกียรติ์ หมายถึง ชื่อวรรณคดีเรื่องหนึ่งว่าด้วยพระรามทำศึกกับทศกัณฐ์ เพื่อชิงนางสีดา
80.  พากย์ หมายถึง พูดแทนผู้แสดง
81.  เสนา  หมายถึง ไพร่พล
82.  ขนิษฐา  หมายถึง น้องสาว
83.  โอษฐ์ หมายถึง ริมฝีปาก
84.  นัยนา หมายถึง ดวงตา
85.  กร  หมายถึง มือ
86.  กัณฐา หมายถึง   คอ
87. พิโรธ หมายถึง โกรธ
88.  กันแสง  หมายถึง ร้องไห้
89.  มรณา  หมายถึง ความตาย
90.  อนุชา หมายถึง น้องชาย
91.  คำไวพจน์   หมายถึง   คำที่มีความหมายอย่างเดียวกัน หรือคำที่พ้องความหมายกัน
92.  เทวษ  หมายถึง คร่ำครวญ
93.  ภูวไนย  หมายถึง   พระเจ้าแผ่นดิน
94.  พระหฤทัย  หมายถึง ใจ
95.   คิรี   หมายถึง ภูเขา
96.  เสวย  หมายถึง  กิน
97.  พนาลี หมายถึง แนวป่า
98.  พระโกศ  หมายถึง   ที่ใส่ศพนั่ง
99.  พระเมรุมาศ  หมายถึง  ที่เผาศพของพระมหากษัตริย์
100.  ฉัตร  หมายถึง เครื่องสูงชนิดหนึ่งมีคล้ายร่มที่ซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้น ๆ
101.  วารี   หมายถึง   น้ำ
102.  โยธา  หมายถึง ทหาร
103.  สวรรคต  หมายถึง สิ้นชีวิต
104.  อมรินทร์  หมายถึง ผู้ไม่ตาย
105.  กุญชร หมายถึง ช้าง
106.  ไพรสัณฑ์  หมายถึง แนวป่า
107.  สุบรรณ  หมายถึง ครุฑ
108.  กินนร หมายถึง อมนุษย์ในนิยาย
109.  คนธรรพ์ หมายถึง ชาวสวรรค์พวกหนึ่งเป็นบริวารของท้าวธตรฐ
110.  ชนัก  หมายถึง เครื่องช้างชนิดหนึ่ง สำหรับผูกที่คอช้างเพื่อคนขี่คอช้าง
111. ดวงมาลย์  หมายถึง ดอกบัว
112.  เยาวมาลย์ หมายถึง หญิงสาวสวย
113. โบกขรณี หมายถึง ดอกบัว
114.  เวหน หมายถึง ฟ้า
115.  อารักษ์ หมายถึง เทวดาผู้พิทักษ์รักษา
116.  เก๋ง หมายถึง เรือนตึกมีรูปหลังคาแบบศาลเจ้าจีน
117. พระไอยกี   หมายถึง   ปู่
118.  พระชงฆ์ หมายถึง เข่า
119.  ดัสกร   หมายถึง   ข้าศึก
120. ธรณี  หมายถึง แผ่นดิน
121.  สิงขร หมายถึง จอม,ยอด,ยอดเขา
122.  พระกลด หมายถึง ภาชนะใส่น้ำมนต์ของพราหมณ์
123.  กำปั่น หมายถึง เรือเดินทะเลขนาดใหญ่ หัวเรียว
124. ราชวัตร หมายถึง วัตรของพระเจ้าแผ่นดิน
125.  พลีบัตร หมายถึง ภาชนะทำด้วยกาบกล้วย
126.  จุติ หมายถึง เคลื่อน
127.  สมโภช หมายถึง การเลี้ยงอาหาร
128.  ไสยศาสตร์ หมายถึง ตำราทางไสย (เวทมนต์)
129.  กรรณ หมายถึง หู
130.  ภุมรา   หมายถึง แมลงผึ้ง,แมลงภู่
131.  นาคี หมายถึง งู,พญานาค
132.  ปราชญ์ หมายถึง ผู้มีปัญญารอบรู้
133.  พสุธา หมายถึง แผ่นดิน
1334.  รสมาลย์ หมายถึง ความหอมหวานของดอกไม้
135.  อินทรีย์  หมายถึง ร่างกายและจิตใจ
136.  โอวาท หมายถึง คำแนะนำ,ตักเตือน,กล่าวสอน
137.  พงศ์  หมายถึง เชื้อสาย
138.  ศาสตรา  หมายถึง อาวุธที่มีความคม
139.  สัปดน   หมายถึง   หยาบโลน
140.  โยธี  หมายถึง นักรบ,ทหาร
141.  เทวา  หมายถึง ชาวสวรรค์ที่มีหูทิพย์ ตาทิพย์ กินอาหารทิพย์
142.  สุราลัย หมายถึง ที่อยู่ของเทวดา,สวรรค์
143.  ประจักษ์  หมายถึง   ปรากฏชัดเจน
144.  อัญชลี  หมายถึง การประณมมือ
145.  กุฎี  หมายถึง กระท่อมที่อยู่ของนักบวช
146.  อาชญา หมายถึง อำนาจ,โทษ
147.  บัญชา หมายถึง   คำสั่งของผู้มีอำนาจ
148. บรรลัย  หมายถึง ฉิบหาย,วายวอด
149.  ปฐพี  หมายถึง แผ่นดิน
150.  เถลิง หมายถึง ขึ้น
151.  อาสน์ หมายถึง ที่นั่ง, เครื่องปูรองนั่ง
152.  อสุรี หมายถึง อสูร,ยักษ์
153.  เกศี หมายถึง ผม
154. ปฏิญญา  หมายถึง คำสัญญาที่ถือเอาสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน
155.  อิสริยยศ  หมายถึง ยศอันยิ่งใหญ่
156.  พลขันธ์ หมายถึง กองทัพ
157.  พ่าย  หมายถึง หนีไป,แพ้
158.  ยุทธนา  หมายถึง สงคราม
159.  สงัด  หมายถึง เงียบสงบ
160. อาธรรม์ หมายถึง ชั่ว, ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม
161.  เกษมสันต์ หมายถึง ชื่นชมยินดี
162.  ทวย หมายถึง หมู่, เหล่า
163.  นาถา  หมายถึง ที่พึ่ง
164. นิรันดร หมายถึง ตลอดไปไม่เว้นว่าง
165.  ประสก หมายถึง อุบาสก
166.  รังสรรค์  หมายถึง สร้าง
167.  ยุคล  หมายถึง ทั้งคู่
168.  โพธิสมภาร หมายถึง บุญบารมีของพระมหากษัตริย์
169.  วาสนา หมายถึง บุญบารมี
170.  วัฒนา หมายถึง ความเจริญงอกงาม
171.  ความเชื่อ หมายถึง เห็นตามที่เขาว่า
172.  ขวัญ  หมายถึง ความดี,กำลังใจ
173.  คติ หมายถึง แบบอย่างหรือวิธี
174.  รุกขเทวดา หมายถึง เทวดาที่สิงสถิตอยู่ตามต้นไม้
175.  สิง หมายถึง เข้าแทรกอยู่
176.  ปรัมปรา หมายถึง เก่าแก่
177.  แม่โพสพ หมายถึง เทพเจ้าที่ปกครองข้าว
178.  เกวียน หมายถึง ยานชนิดหนึ่งมีล้อ 2 ล้อ  ใช้ควายหรือวัวเทียม
179.  กล่อม หมายถึง   ถากแต่งให้กลมงาม
180.  ทารุณ หมายถึง ดุร้าย,โหดร้าย
181.  กันดาร  หมายถึง อัตคัด ฝืดเคือง
182.  เมตตา หมายถึง ความรักและเอ็นดู
183. ปรานี หมายถึง สงสาร
184.  คุ้ง  หมายถึง ส่วนเว้าโค้งเข้าไปของฝั่งน้ำด้านที่ตรงกันข้ามกับหัวแหลม
185.  ยอ  หมายถึง การกล่าวคำเพื่อเชิดชู
186. อุทธรณ์ หมายถึง   การยกขึ้น
187.  ปรนปรือ หมายถึง เลี้ยงดูให้อิ่มหนำสำราญ
188. เพลงกล่อมเด็ก  หมายถึง เสียงขับร้องที่ใช้กล่อมเด็กให้หลับ
189. ละเมียด หมายถึง มิดชิดอย่างสุภาพ
190. ละไม หมายถึง น่ารักน่าเอ็นดู
191. กระสวย  หมายถึง เครื่องบรรจุด้ายสำหรับทอผ้า
192.  ประสาน  หมายถึง ร่วมมือกัน
193.  ประคอง  หมายถึง ให้มือพยุง
191.  เนรมิต  หมายถึง  นิรมิต
192. หม่อน หมายถึง ใช้ใบสำหรับเลี้ยงตัวไหม
193. แยบยล หมายถึง อุบาย
194.  วิจิตร  หมายถึง งามประณีต
195.  ตำนาน หมายถึง เรื่องราวนมนานที่เล่าต่อกันมา
196. ภยันตราย  หมายถึง ภัยและอันตราย
197.  อุทิศ หมายถึง ให้โดยเจาะจง
198.  ท้องถิ่น หมายถึง ท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพาะ
199.  ลีลา  หมายถึง ท่าทางอันงาม
200.  ทำนอง หมายถึง แบบอย่าง
201.  สำเนียง หมายถึง น้ำเสียง 

คำนิยามความหมาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
202.  หลักการ หมายถึง คำสอนที่ยึดถือเป็นการปฏิบัติ
203.  ประโยคความซ้อน หมายถึง ประโยคความเดียวที่มีการเพิ่มประโยคเข้าไป ประกอบด้วย
ประโยคความเดียวเป็นประโยคหลัก และมีประโยคย่อยมาขยายคำในประโยคหลัก
204.นาม หมายถึง คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ
205. ประธาน  หมายถึง ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าในที่ประชุม
206. กรรม  หมายถึง สิ่งที่ถูกกระทำ
207. สรรพนาม หมายถึง คำที่ใช้แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ
208. กริยา หมายถึง การกระทำ
209. วิเศษณ์ หมายถึง คำขยายคำนาม,กริยา
200. เรียบเรียง  หมายถึง ตกแต่งถ้อยคำให้สละสลวย และเรียงให้ชัดเจน
201. เชื่อม  หมายถึง ทำให้ติดเป็นเนื้อเดียวกัน
212. สัมพันธ์  หมายถึง ผูกพัน,เกี่ยวข้อง
213. คำ หมายถึง เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้น
214. ภาษา  หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้สื่อสารหรือเขียน
215. สื่อสาร หมายถึง นำหนังสือหรือข้อความของฝ่ายหนึ่งส่งให้อีกฝ่ายหนึ่ง
216. ประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถที่ทำให้เกิดผลงาน
217. พิธีการ หมายถึง การที่เกี่ยวกับพิธี
218. สุนทรพจน์ หมายถึง คำพูดที่ประธานบุคคลสำคัญกล่าวในพิธีการ
219. โอวาท หมายถึง คำแนะนำกล่าวสอน
220. ปาฐกถา หมายถึง การกล่าวภาษาบาลี
221. สัมพันธภาพ  หมายถึง ความเกี่ยวข้อง
222. ราชาศัพท์ หมายถึง คำที่ใช้พูดกับพระราชา
223. กำหนดการ  หมายถึง ระเบียบการของงานที่บอกให้ทำลำดับ
224. กระแสรับสั่ง  หมายถึง  คำสั่งของพระมหากษัตริย์
225. พระบรมราชสมภพ หมายถึง เกิด,ประสูติ
226. เสด็จ หมายถึง ไป,ดำเนินไป
227.  สรวล  หมายถึง หัวเราะ
228. สมาส  หมายถึง การเอาศัพท์ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาต่อกันเป็นคำเดียว
229. ยุทธภูมิ  หมายถึง สถานที่รบ
230. ทัณฑมาต  หมายถึง เครื่องหมายที่ไม่ต้องออกเสียง
231. วิสรรชนีย์  หมายถึง เครื่องหมายใช้ประหลังอักษร
232. พยางค์ หมายถึง ส่วนของคำที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง
233. คำประสม หมายถึง การนำคำมูลตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาผสมกัน
234. สนธิ  หมายถึง การเอาศัพท์ตั้งแต่ 2 ศัพท์ขึ้นไปมาต่อให้ติดเนื่องเป็นศัพท์เดียว
235.  สระ หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ
236.  พยัญชนะ หมายถึง ทำเนื้อความให้ปรากฏ
237.  นิคหิต หมายถึง ชื่อเครื่องหมายรูป “  “
238. สร้างสรรค์  หมายถึง สร้างให้มีให้เป็นขึ้น
239. แยบยล หมายถึง อุบาย
240. จินตภาพ หมายถึง ภาพที่เกิดจากความนึกคิด
241. คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี
242. สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว
243. นิทาน หมายถึง เรื่องที่เล่ากันมา
244. ตำนาน หมายถึง เรื่องราวนมนานที่เล่าสืบ ๆ มา
245. วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์
246. ศัพท์ หมายถึง เสียงหรือคำยากที่ต้องแปล
247. วิชาการ หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวกับความรู้
248.  ตำรา  หมายถึง แบบแผนที่ว่าด้วยหลักวิชาต่าง ๆ
249. บทความ  หมายถึง ข้อเขียนที่ผู้เขียนแสดงความคิด
250. อภิปราย หมายถึง พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น
251. สัมมนา  หมายถึง การประชุมแบบหนึ่งเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
252. ฉันทลักษณ์  หมายถึง ตำราว่าด้วยคำประพันธ์
253. วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ
254.  อลังการ หมายถึง งามด้วยเครื่องประดับ
255.  ประพันธ์  หมายถึง แต่ง
256. กาพย์ หมายถึง คำร้อยประเภทหนึ่ง
257. สัมผัสนอก หมายถึง คำคล้องจองแห่งคำประพันธ์ที่อยู่ต่างวรรคกันตามบังคับ
258. วรรค  หมายถึง ตอน
259. สัมผัสใน หมายถึง คำคล้องจองแห่งคำประพันธ์ที่อยู่ในวรรคเดียวกัน
250. จังหวะ  หมายถึง ระยะที่สม่ำเสมอ
261.  ทักษะ หมายถึง ความชำนาญ
262. อักษร หมายถึง ตัวหนังสือ
263. ปัญญา หมายถึง  ความรอบรู้
264. ความรู้ หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน,ค้นคว้า,ประสบการณ์
265. รสนิยม  หมายถึง ความนิยมชมชอบ
266. ประสบการณ์  หมายถึง การกระทำที่ได้พบเห็นมา
267.  เขียน หมายถึง เขียนให้เป็นตัวอักษร
268. ประเด็น หมายถึง ข้อความสำคัญของเรื่อง
269. ภาพพจน์ หมายถึง การพูดที่ดีทำให้นึกเห็น
270. ภาพลักษณ์ หมายถึง ภาพที่เกิดจากความนึกคิด     
271. โฆษณา หมายถึง การเป่าร้อง,การเผยแพร่
272. คล้องจอง  หมายถึง สัมผัสกัน
273. โต้แย้ง หมายถึง แสดงความเห็นแย้งกัน
274. คำคม หมายถึง ถ้อยคำที่หลักแหลมชวนให้คิด
275.  สำนวน หมายถึง ถ้อยคำที่เรียบเรียง,โวหาร
276. เรียงความ หมายถึง นำข้อความต่าง ๆ มาแต่งเรียบเรียงให้เป็นเรื่องราว
277. ทัศนะ หมายถึง ความเห็นหรือการเห็น
278. วัจนภาษา  หมายถึง ภาษาที่เป็นคำพูด
279. อวัจนภาษา หมายถึง ภาษาที่ไม่มีเสียงพูด
280.  จรรโลง  หมายถึง ส่งเสริม เชิดชู
281. วิเคราะห์ หมายถึง แยกแยะ
282. ปราศรัย หมายถึง ออกเสียง
283. สังเกต  หมายถึง จับตาดู
284. ข้อเท็จจริง หมายถึง ข้อความที่มีลักษณะเป็นจริงโดยธรรมชาติ
285. ข้อคิดเห็น  หมายถึง ข้อความที่แสดงความรู้สึก ความเชื่อ ความคิดเห็น ข้อเสนอของผู้พูด
286.  พูด หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาเป็นถ้อยคำ
287. โต้วาที หมายถึง แสดงความคิดเห็นตอบโต้กัน
288. วาทศิลป์  หมายถึง ศิลปะในการใช้ถ้อยคำ
289. ญัตติ หมายถึง หัวข้อเพื่อโต้วาที
290. พิธีกร หมายถึง ผู้ดำเนินรายการ
291. กติกา หมายถึง ข้อตกลง,กฎเกณฑ์ที่วางกันไว้
292. ระเบียบ หมายถึง แบบแผนที่วางไว้เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติ
293. กรรมการ หมายถึง ผู้ตัดสิน
294. อารัมภบท  หมายถึง  บทเริ่มต้น
295. สัมภาษณ์  หมายถึง สอบถาม,สนทนา
296. ฟัง หมายถึง ตั้งใจสดับ
297. พินิจ หมายถึง พิจารณา
298. คุณค่า  หมายถึง ราคาประโยชน์ของสิ่งของ
299. วรรณกรรม หมายถึง งานด้านหนังสือ
300. วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ
301.  ร้อยกรอง  หมายถึง สอด ผูกให้ติดกัน
302. กวี หมายถึง ผู้แต่งคำประพันธ์,ฉันท์,กาพย์,กลอน
303. สัมผัสสระ หมายถึง คำคล้องจองแห่งคำประพันธ์ที่มีสระและมาตราสะกดอย่างเดียวกัน
304. สัมผัสพยัญชนะ หมายถึง การใช้คำที่มีเสียงพยัญชนะเสียงเดียวกัน
305. ไวพจน์ หมายถึง คำที่มีความหมายเดียวกัน
306. ร้อยแก้ว หมายถึง ความเรียงที่สละสลวยไพเราะ
307. พรรณนา หมายถึง กล่าวเป็นเรื่องราว
308.  สารคดี หมายถึง เรื่องที่เรียบเรียงมาจากความจริง
309. ภูมิปัญญา หมายถึง พื้นความรู้ความสามารถ
310. อนุรักษ์ หมายถึง เก็บรักษาไว้ไม่ให้สูญพันธ์
311. สืบทอด หมายถึง รับช่วงต่อ
312. เพลงพื้นบ้าน หมายถึง เพลงของชาวบ้านที่นิยมแพร่หลาย
313. เพลงกล่อมเด็ก หมายถึง เพลงที่กล่อมให้เด็กหลับ
314. เทพารักษ์ หมายถึง เทวดาผู้ดูแลรักษาที่ใดที่หนึ่ง
316. ราชาภิเษก หมายถึง พิธีสถาปนาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์
317. รามเกียรติ์ หมายถึง ชื่อวรรณคดีเรื่องหนึ่ง
318. เกศา  หมายถึง ผม
319. ประณต   หมายถึง   น้อมไหว้
320.  พักตร์   หมายถึง ใบหน้า
321. สุราลัย หมายถึง ที่อยู่ของเทวดา
322.  อสุนี หมายถึง ฟ้าผ่า
323. โอษฐ์ หมายถึง ริมฝีปาก,ปาก
324. พระหริวงศ์   หมายถึง   พระนารายณ์
325. ไกรลาส  หมายถึง ชื่อภูเขาที่เป็นที่ประทับของพระอิศวร
326.  ไตรภพ หมายถึง สาม
327.  ธาตรี หมายถึง แผ่นดิน,โลก
328.  อัมพร  หมายถึง  ท้องฟ้า
329.  จุไร  หมายถึง ผมที่เกล้าเป็นจุกและประดับอย่างสวยงาม
330.  บังเหตุ หมายถึง ประมาท
331.  สำเร็จมโนรถ   หมายถึง  ได้ตามต้องการ
332.  หัสนัยน์   หมายถึง ผู้มีพันตา
333. โคลง  หมายถึง  คำประพันธ์ประเภทหนึ่ง
334.  ประพาส  หมายถึง อยู่แรม,เที่ยวไป
335. จัตุรงค์  หมายถึง องค์สี่,สี่เหล่า
336.  ชุมสาย  หมายถึง เครื่องสูงชนิดหนึ่ง
337.  โทน  หมายถึง  ตัวเดียว
338.  พลาย  หมายถึง ช้างตัวผู้
339.  พัง หมายถึง พลาย,ช้างตัวเมีย
340.  สล้าง หมายถึง สูงเด่นเป็นหมู่
341.  เพรา  หมายถึง  งาม,น่าดู
342.  เพรียก  หมายถึง  อาการที่เรียกมาก ๆ อย่างนกร้อง
343.  อรรค  หมายถึง เลิศ,ยอด
344.  ธงฉาน หมายถึง ธงที่ใช้ในเรือพระที่นั่งและเรือหลวง
345.  ทศนฤทุมนาการ  หมายถึง กิจสิบประการที่ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
346.  บัณฑิต  หมายถึง ผู้มีปัญญา,นักปราชญ์
347.  โทมนัส  หมายถึง  ความเสียใจ,ความเป็นทุกข์ใจ
348.  โมหะ  หมายถึง ความหลง,ความโง่เขลา
349.  ทศ  หมายถึง สิบ
350.  นรชาติ  หมายถึง คน
351.  พระบรมราโชวาท หมายถึง โอวาทของพระราชา
352. มลทิน หมายถึง ความมัวหมอง
353.  บรรดาศักดิ์ หมายถึง ฐานะของขุนนางซึ่งได้รับพระราชทาน
354.   เบี้ยหวัด หมายถึง เงินบำเหน็จความชอบในราชการให้เป็นรายปี
355. มหาดเล็ก หมายถึง ข้าราชการในราชสำนัก
356.  ปฏิญาณ  หมายถึง  การให้คำมั่นสัญญา
357.  ต้องโสต  หมายถึง    น่าฟัง
358.   ความกษัย  หมายถึง ความเสื่อม
359.  เงินกลางปี    หมายถึง   เบี้ยหวัดที่จ่ายกลางปี
360.  เทศนา  หมายถึง  การแสดงธรรมสั่งสอน
361. ขื่อคา  หมายถึง เครื่องจองจำนักโทษสมัยโบราณ
362.  จักษุ  หมายถึง  ดวงตา
363.  ปุถุชน  หมายถึง สามัญชน,คนที่มีกิเลส
364.  พล่อย หมายถึง พูดโดยไม่คิด
365.  ราญ  หมายถึง   รบ
366.  มโนมัย    หมายถึง    สำเร็จได้ด้วยใจ
367.  ตลิ่ง      หมายถึง     ฝั่งน้ำ
368. กระเพื่อม หมายถึง  อาการของสิ่งเหลวหรือนุ่มที่ไหวขึ้นๆลงๆอย่างน้ำกระเพื่อม
369. กระถด    หมายถึง      ถอยหลัง
370.  เพลงเรือ    หมายถึง     เพลงที่ใช้โต้ตอบกันในเรือ
371. เพลงฉ่อย    หมายถึง      ทำนองดนตรีที่ช้า ๆ
372. ธรรมเนียม หมายถึง     ประเพณี,แบบแผน
373.  งอบ   หมายถึง    เครื่องสานใช้สวมหัวกันแดดกันฝน
374.  อัฐ   หมายถึง         กระดูกคนที่เผาแล้ว
375.  หลุมพอ  หมายถึง    ที่มีลักษณะเป็นบ่อลึกจนพอดีแล้ว
376.  ถีบ     หมายถึง      ยังไม่สุก
377.  เยื้อง    หมายถึง     เฉียง,ไม่ตรง
378. ทาน    หมายถึง      การให้
379. ราชทูต    หมายถึง      ผู้นำพระราชสาสน์ไปประเทศอื่น
380. กระดาก  หมายถึง    ไม่กล้าทำเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย
381. เกียรติยศ หมายถึง    เกียรติโดยฐานะตำแหน่งหน้าที่
38.  พิบัติ        หมายถึง    ความฉิบหาย
384.  โสต        หมายถึง    หู,ช่องหู
385.  พงศ์         หมายถึง     เชื้อสาย,สกุล
386.  ขลับ        หมายถึง     เสื่อม,เกลี้ยงเป็นมัน
387.  วารี          หมายถึง     น้ำ
388.  สังข์          หมายถึง   หอยทะเลชนิดหนึ่ง
399.  คทา     หมายถึง   ไม้กระบอง
400.  บัญชา หมายถึง    คำสั่งของผู้มีอำนาจ
401.  ตรี       หมายถึง     สาม
402.  กบฏ     หมายถึง     การประทุษร้ายต่อทางอาณาจักร
403.  มุรธาภิเษก หมายถึง   พิธีหลั่งน้ำพระเศียร
404.  วินิจฉัย    หมายถึง     ตัดสิน,ชี้ขาด
405.  บารมี    หมายถึง      คุณความดีที่ได้กระทำมา
406.  สำรับ    หมายถึง      ชุด,วง ,ภาชนะใส่กับข้าว
407.  อุกฉกรรจ์   หมายถึง    ร้ายแรง
408.  โกฏิ    หมายถึง    มาตรานับเท่ากับสิบล้าน
409. ชลมารค    หมายถึง    ทางน้ำ
410. สถลมารค หมายถึง   ทางบก
411. ศุภอรรถ หมายถึง เนื้อความ
412.  สยบ หมายถึง     ซบลง,ฟุบลง
413.  กฐิน  หมายถึง   ไม้กระดึงสำหรับตัดจีวร
414.  ทุ่น   หมายถึง   สิ่งที่ลอยน้ำให้สิ่งอื่นเกาะ
415.  ลัทธิ หมายถึง    คติความเชื่อถือหรือความคิดเห็น
416.  ธรรมเนียม หมายถึง ประเพณี
417. อัชฌาสัย  หมายถึง   กิริยาดี นิสัย ใจคอดี

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น